ข้อสังเกตติดตั้ง กลอนประตูดิจิตอล สำหรับประตูบานเลื่อน

ข้อสังเกตติดตั้ง กลอนประตูดิจิตอล สำหรับประตูบานเลื่อน

กลอนประตูดิจิตอล สามารถติดตั้งกับประตูบานเลื่อนได้ แต่จะมีความแตกต่างจากการติดตั้งกับประตูบานเปิดทั่วไปเล็กน้อย เนื่องจากประตูบานเลื่อนมีลักษณะการเปิด-ปิดที่แตกต่างกัน ที่ EnsureShop มีกลอนดิจิตอลที่สามารถติดตั้งได้ทั้งบานเลื่อนและบานผลัก รวมถึงกระจกบานเปลือย แต่สำหรับประตูบานเลื่อนอาจจะมีข้อจำกัดเล็กน้อย บทความนี้จะบอกข้อจำกัดเหล่านั้นกัน

ทำไมต้องเลือกกลอนประตูดิจิตอลสำหรับประตูบานเลื่อน?

  • เพิ่มความปลอดภัย: ป้องกันการบุกรุกและการเปิดประตูโดยไม่ได้รับอนุญาต
  • สะดวกสบาย: ไม่ต้องพะวงกับกุญแจ เพียงแค่ใช้รหัสผ่านหรือลายนิ้วมือก็เปิดประตูได้
  • ทันสมัย: ทำให้บ้านดูทันสมัยและมีเทคโนโลยี

กลอนประตูดิจิตอลสำหรับประตูบานเลื่อนมีแบบไหนบ้าง?

  • แบบฝัง: ติดตั้งซ่อนไว้ภายในตัวประตู ทำให้ดูเรียบเนียนและสวยงาม
  • แบบติดตั้งภายนอก: ติดตั้งที่ขอบประตู เหมาะสำหรับประตูบานเลื่อนที่ไม่มีพื้นที่สำหรับติดตั้งแบบฝัง

ข้อสังเกตสำหรับติดตั้งกับประตูบานเลื่อน

  • ขอบประตูอะลูมิเนียมต้องมีขอบประตู 5 เซนติเมตรขึ้นไป
  • กรณีมีมุ้งลวด ควรมีระยะห่างระกว่าประตูและบานเลื่อนอย่างน้อย 5 เซนติเมต
  • ประเภทของประตูบานเลื่อน: เป็นประตูบานเลื่อนแบบไหน เช่น ประตูบานเลื่อนกระจก ประตูบานเลื่อนอลูมิเนียม
  • วัสดุของประตู: วัสดุของประตูจะส่งผลต่อการเลือกชนิดของกลอนและวิธีการติดตั้ง
  • ขนาดของช่องว่างระหว่างบานประตู: กลอนต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับช่องว่างระหว่างบานประตู

กลอนประตูดิจิตอลสมัยนี้มีความปลอดภัยและสะดวกมากกว่ายุคก่อนๆหลายเท่าตัว ไม่ว่าจะมองมุมไหนก็ได้แต่รับผลประโยชน์จากเทคโนโลยีอันน่าทึ่งของกลอนประตูตัวนี้ ดังนั้นใครที่อยากได้สิ่งของที่ซื้อแล้วคุ้มค่าแถมมีประโยชน์แก่ทรัพย์สินและคนรอบข้าง ต้องเปลี่ยนจากกลอนประตูธรรมดามาใช้กลอนประตูดิจิทัล

เลือกใช้สินค้าจาก Ensure Shop พร้อมบริการติดตั้งฟรีในกรุงเทพและปริมณฑล แถมรับประกันสูงสุดถึง 1 ปีเต็ม

สามารถสอบถามและปรึกษาได้ที่ Line : @ensureshop หรือ ดูสินค้าหน้าร้านได้ที่ 📍สาขาศูนย์การค้าเซียร์รังสิต (เปิดทุกวัน 10.30 – 19.30 น.)

ข้อสังเกตติดตั้ง กลอนประตูดิจิตอล สำหรับประตูบานเลื่อน Read More »

ประตูบ้าน พัง เปลี่ยนใหม่ เลือกยังไงดี?

ประตูบ้าน พัง เปลี่ยนใหม่ เลือกยังไงดี?

ประตูบ้าน เป็นส่วนประกอบของบ้านที่สำคัญเพราะว่าเราใช้เปิด-ปิดอยู่ทุกวัน ทั้งยังป้องกันไม่ให้บุคคลภายนอกเข้ามาในพื้นที่ส่วนตัว และช่วยรักษาอุณหภูมิและความชื้นภายในบ้านให้คงที่ ถ้าประตูบ้านพังหรือเก่าแล้วควรคิดเรื่องเปลี่ยนประตูเอาไว้ เพื่อความปลอดภัยของคนในบ้านและทรัพย์สิน

วิธีการเลือกประตู

1.ขนาดของประตู

โดยปกติแล้วประตูขนาดมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากคือ ขนาด 90×200 cm เพราะประตูจะค่อนข้างขนาดใหญ่นิยมใช้สำหรับเป็นทางเข้า-ออกหน้าบ้านหรือหลังบ้านเนื่องจากประตูมีขนาดใหญ่ทำให้เดินเข้าออกได้สะดวก

2.รูปแบบการเปิด-ปิด

การเปิดปิดของประตูบ้านเหมาะกับการเปิดเข้ามากกว่า เพื่อป้องกันการชนกับบุคคลอื่นที่อยู่ภายนอก และถูกต้องตามศาสตร์ของฮวงจุ้ยอีกด้วย

3. การเลือกลูกบิดประตู

ลูกบิดนอกจะเพิ่มความสะดวกสบายแล้วยังเพิ่มความปลอดภัยได้อีกด้วยถ้าใช้ Digital door lock ทาง Ensure ก็มี Digital door lock ให้เลือกมากมายหลากหลายรุ่น และยังมีฟังก์ชั่นการปลดล็อคที่ครบครั้น ไม่ว่าจะเป็นสแกนนิ้ว กดรหัส คีย์การ์ด รวมถึงฟังก์ชั่นสแกนใบหน้า สามารถเลือกรุ่นที่เหมาะกับประตู และดีไซน์ที่ต้องการ โดยสามารถกดดูสินค้าได้ที่นี้ https://ensureshop.com/shop/

4. เลือกประตูให้เหมาะกับสไตล์ของบ้าน

ควรเลือกสไตล์ของประตูให้เข้ากับบ้าน นอกจากจะเพิ่มความปลอดภัยและอุ่นใจแล้ว ยังเพื่อความสบายตา น่ามองอีกด้วย

5. เลือกวัสดุของประตูให้เหมาะสม

ถ้าเลือกประตูที่วัสดุดีจะทำให้เพิ่มอายุการใช้งานได้นานขึ้น แนะนำประตู WPC เนื่องจากมีความแข็งแรงทนทาน ทนต่อความชื้นและความร้อน ทนทานต่อปลวกและแมลงกัดกิน ดูแลรักษาง่าย และน้ำหนักเบา การเลือกประตูนอกจากเรื่องความสวยงามแล้ว ควรคำนึงถึงเรื่องการใช้งานและความเหมาะสมด้วย

แม้ปัจจุบันจะมีประตูให้เลือกสรรหลากหลายวัสดุและดีไซน์การออกแบบที่มากมาย แต่ต้องไม่ลืมให้ความสำคัญกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่สามารถใช้งานได้ในระยะยาว และเผื่องบประมาณไว้สำหรับจ้างช่างที่มีความชำนาญติดตั้งประตูด้วย แต่สำหรับสินค้าของEnsureนั้นบริการติดตั้งฟรี(กรุงเทพฯและปริมณฑล) และยังมีรับประกันนาน1ปี

เลือกซื้อและจองคิวติดตั้ง แอดเลย 👉Line Official : @ensureshop (https://lin.ee/9W8a7eI)

เดินทางมาเยื่ยมชมสินค้าที่ Ensure Shop 📌พิกัด : https://goo.gl/maps/AxfHqetKc3MACFfSA

การเลือกประตูนอกจากเรื่องความสวยงามแล้ว ควรคำนึงถึงเรื่องการใช้งานและความเหมาะสมด้วย

ประตูบ้าน พัง เปลี่ยนใหม่ เลือกยังไงดี? Read More »

Scroll to Top